มีเจ้าชะตาส่งข้อความถามผมว่า ดูกับอาจารย์ได้ลัคนาราศีมีน แต่ไปดูอีกสำนักนึงได้ลัคนาราศีเมษ สรุปแล้วอยู่ลัคนาราศีอะไรกันแน่ ตอบว่าเรื่องแบบนี้เกิดขึ้นได้จาก 2 สาเหตุคือ
ดาราศาสตร์
ซูเปอร์โนวา (Supernova) คือการระเบิดหลังสิ้นอายุขัยของดาวฤกษ์ ก่อนหน้านี้แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก เท่านั้นแต่ล่าสุดนักดาราศาสตร์ได้ค้นพบและยืนยันแล้วว่าจักรวาลนี้มี ซูเปอร์โนวาประเภทที่ 3 อยู่
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย 21 ธันวาคม 2563 เป็น “วันเหมายัน”(เห-มา-ยัน) กลางคืนยาวที่สุดในรอบปี ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูหนาว และประเทศทางซีกโลกใต้นับเป็นวันที่ย่างเข้าสู่ฤดูร้อน วันดังกล่าวช่วงหัวค่ำยังเกิดปรากฏการสำคัญ “ดาวพฤหัสบดีเคียงดาวเสาร์” ใกล้ที่สุดในรอบ 397 ปีอีกด้วย
ทีมนักวิจัยจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติ ค้นพบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ KELT-11b
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เก็บภาพจันทรุปราคาเงามัว เหนือฟ้าเมืองเชียงใหม่ ในช่วงหัวค่ำวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 บันทึกภาพ ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดพิธีมอบรางวัลประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2563 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2563 อาคารชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชวนชม “ฝนดาวตกลีโอนิดส์ – ราชาแห่งฝนดาวตก” หลังเที่ยงคืนวันที่ 17 พ.ย. 63 จนถึงรุ่งเช้าวันที่ 18 พ.ย. 63 อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ย 15 ดวงต่อชั่วโมง ช่วงดังกล่าวปราศจากแสงจันทร์รบกวน สังเกตได้ด้วยตาเปล่าทั่วไทย ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณกลุ่มดาวสิงโต แนะชมในที่มืดสนิทจะเห็นชัดเจนยิ่งขึ้น
อีก 48 ปีข้างหน้า ดาวเคราะห์น้อยอะโพฟิส อาจมีโอกาสพุ่งชนโลกนักดาราศาสตร์ต่างจับตามอง “ดาวเคราะห์น้อยอะโพฟิส” เนื่องจากเป็น 1 ใน 3 ดาวเคราะห์น้อยที่มีโอกาสพุ่งชนโลกในช่วงหนึ่งร้อยปีต่อจากนี้
อุกกาบาตสามารถพบได้ทุกที่บนโลก แต่เราจะได้แยกออกได้อย่างไรระหว่างหินอุกกาบาตและหินทั่วไปที่สามารถพบได้ในโลกของเรา